2007年8月31日金曜日
แอร์บัส เอ310-324 เป็นเครื่องบินลำเลียงแบบที่ 13 (บ.ล.13)
ประเภท : เครื่องบินโดยสาร
ผู้ผลิต : บริษัท แอร์บัส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศ ฝรั่งเศส
เครื่องยนต์ : ชนิด Turbofan จำนวน 2 เครื่อง
กางปีก : 144 ฟุต
ความยาว : 152 ฟุต 4 นิ้ว
สูง : 51 ฟุต
น้ำหนักตัวเปล่า : 79.5 ตัน
น้ำหนักสูงสุดวิ่งขึ้น : 157 ตัน
ความเร็วสูงสุด : 0.84 มัค
เพดานบิน : 41,000 ฟุต
ประจำการเมื่อ : พ.ศ. 2534
นามเรียกขาน Vihok
2007年8月27日月曜日
ผู้ปั้นแบบ (หลัง) : นาย ธรรมนูญ แก้วสว่าง
เหรียญ 2 บาท เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 2 บาทในชุดปัจจุบันมีด้านหน้าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังเป็นรูปพระบรมบรรพต วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ประกาศออกใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2548
2007年8月26日日曜日
2007年8月25日土曜日
บทความนี้เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่ง สำหรับความหมายอื่นดูที่ PC (แก้ความกำกวม)
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือ พีซี (PC) เดิมทีเป็นคำไว้ใช้เรียก เครื่องคอมพิวเตอร์ราคาย่อมเยาว์ สำหรับใช้ส่วนบุคคล ปัจจุบันใช้รวมความไปถึงอีกสามความหมายด้วยกัน:
คำว่า "คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล" เริ่มมีใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) สำหรับกล่าวถึงเครื่อง Xerox PARC ของบริษัท Xerox Alto อย่างไรก็ตามจากความประสบความสำเร็จของไอบีเอ็มพีซี ทำให้การใช้คำว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหมายถึง เครื่องไอบีเอ็มพีซี
เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นพีซี ของไอบีเอ็ม ซึ่งเป็นที่มาของคำดังกล่าว - ดู ไอบีเอ็มพีซี
คำสามัญ สำหรับเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เข้ากันได้กับข้อกำหนดจำเพาะของไอบีเอ็ม (IBM compatible)
คำสามัญ ที่บางครั้งใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทุกชนิด
2007年8月24日金曜日
สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (อังกฤษ: Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี
ปัจจุบัน
วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929)
วันเปิด : วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932)
บริษัทที่ทำการก่อสร้าง : DORMAN LONG & CO.LTD
ราคาค่าก่อสร้าง : 4 ล้านบาทเศษ (ราคาในปี พ.ศ. 2471)
แบบของสะพาน : ชนิดเปิด - ปิดได้ ( ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นปิดตาย )
โครงสร้างส่วนบน : เป็นลักษณะโครงเหล็กตลอด
ความสูงจากระดับน้ำ : 7.30 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ความกว้างของสะพาน : 10.00 เมตร
2007年8月23日木曜日
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทย
ค้นหา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทย ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทย
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทย ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา
2007年8月22日水曜日
เพลง ขวัญของเรียม หรือ ขวัญเรียม เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องแผลเก่า ฉบับ พ.ศ. 2483 ประพันธ์โดยพรานบูรพ์ ผู้ที่ขับร้องคนแรกคือ ส่งศรี จันทรประภา (ส่งศรี ยอห์นสัน) แห่งคณะละคร"จันทโรภาส" ต่อมานำมาประกอบละคร "ขวัญเรียม" ฉายทางช่อง 4 บางขุนพรหม ขับร้องใหม่โดยนันทวัน เมฆใหญ่ บันทึกเสียงเมื่อ พ.ศ. 2511 ประกอบภาพยนตร์แผลเก่า พ.ศ. 2520 ของ เชิด ทรงศรี ขับร้องโดย ผ่องศรี วรนุช
คำร้อง-ทำนอง: พรานบูรพ์
เรียมเหลือทนแล้วนั่นขวัญของเรียม
หวนคิดคิดแล้วขมขื่น ฝืนใจเจียม
เคยโลมเรียมเลียบฝั่งมาแต่หลังยังจำ
- คำที่ขวัญเคยพลอดเคยพร่ำ
ถ้วนทุกคำยังเรียกยังร่ำเร่าร้องก้องอยู่
แว่วๆแจ้วหูว่าขวัญชู้เจ้ายังคอย
เรียมเหลือลืมแล้วนั่นขวัญคงหงอย
หวนคิดคิดแล้วยิ่งเศร้า เหงาใจคอย
อกเรียมพลอยนึกหน่าย คิดถึงสายน้ำนอง
- คลองที่เรียมเคยเที่ยวเคยท่อง
เมื่อเราสองต่างว่ายต่างว่องล่องไล่ไม่เว้น
เช้าสายบ่ายเย็น ขวัญลงเล่นกับเรียม
- คลองที่เรียมเคยเที่ยวเคยท่อง
2007年8月20日月曜日
2007年8月19日日曜日
ประวัติ
ผลงาน
แม่มดน้อยแซลลี่ (พ.ศ. 2509) รับบทเป็น พ่อของแซลลี่
ไซบอร์ก009 (พ.ศ. 2509) รับบทเป็น 008
ดอกเตอร์สลัมป์ รับบทเป็น โนริมากิ เซมเบ้
ปาร์แมน รับบทเป็น ดอน อิชิคาวะ
หมัดเทพเจ้าดาวเหนือ รับบทเป็น ราโอ, ไคโอ
เซนต์เซย่า รับบทเป็น เทพโอดีน
ชินเก็ตเตอร์โรโบ ปะทะ นีโอเก็ตเตอร์โรโบ รับบทเป็น จักรพรรดิโกล
ไดตะลุยแดนเวทมนตร์ รับบทเป็น เวิร์น
โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ รับบทเป็น ดาร์บี้
สตรีทไฟท์เตอร์ II V รับบทเป็น เวก้า
มาครอสพลัส รับบทเป็น มิลลาร์ด จอห์นสัน
ลัคกี้แมน จริงๆนะจะบอกให้ รับบทเป็น โอยาจิแมน
เบอร์เซิร์ก รับบทเป็น ซ็อด
วันพีซ (ภาคภาพยนตร์จอเงิน) รับบทเป็น เอลดราโก้
ราเซฟอน รับบทเป็น วาตาริ ชิโร่
ก้าวแรกสู่สังเวียน รับบทเป็น คาโมงาวะ เก็นจิ
ยูซี่ สาวน้อยมหัศจรรย์ รับบทเป็น จอมราชาปีศาจ
แขนกล คนแปรธาตุ รับบทเป็น อเล็กซ์ หลุยส์ อาร์มสตรอง
เนตรสยบมาร (Basilisk) รับบทเป็น มิโนะ เน็งกิ งานเกม
James Bond 007: Diamonds Are Forever พากย์เสียงของ เจมส์ บอนด์ (ฌอน คอนเนอรี่)
James Bond 007: Moonraker พากย์เสียงของ ฮิวโก้ แดรกซ์ (ไมเคิล ลอนสเดล)
James Bond 007: Tomorrow Never Dies พากย์เสียงของ แจ็ค เวด (โจ ดอน เบคเกอร์)
The Matrix พากย์เสียงของ มอร์เฟียซ (ลอเรนซ์ ฟิชเบิร์น)
The Lord of The Rings พากย์เสียงของ กิมลี่ (จอห์น รีส เดวี่ส์)
ผลงาน
แม่มดน้อยแซลลี่ (พ.ศ. 2509) รับบทเป็น พ่อของแซลลี่
ไซบอร์ก009 (พ.ศ. 2509) รับบทเป็น 008
ดอกเตอร์สลัมป์ รับบทเป็น โนริมากิ เซมเบ้
ปาร์แมน รับบทเป็น ดอน อิชิคาวะ
หมัดเทพเจ้าดาวเหนือ รับบทเป็น ราโอ, ไคโอ
เซนต์เซย่า รับบทเป็น เทพโอดีน
ชินเก็ตเตอร์โรโบ ปะทะ นีโอเก็ตเตอร์โรโบ รับบทเป็น จักรพรรดิโกล
ไดตะลุยแดนเวทมนตร์ รับบทเป็น เวิร์น
โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ รับบทเป็น ดาร์บี้
สตรีทไฟท์เตอร์ II V รับบทเป็น เวก้า
มาครอสพลัส รับบทเป็น มิลลาร์ด จอห์นสัน
ลัคกี้แมน จริงๆนะจะบอกให้ รับบทเป็น โอยาจิแมน
เบอร์เซิร์ก รับบทเป็น ซ็อด
วันพีซ (ภาคภาพยนตร์จอเงิน) รับบทเป็น เอลดราโก้
ราเซฟอน รับบทเป็น วาตาริ ชิโร่
ก้าวแรกสู่สังเวียน รับบทเป็น คาโมงาวะ เก็นจิ
ยูซี่ สาวน้อยมหัศจรรย์ รับบทเป็น จอมราชาปีศาจ
แขนกล คนแปรธาตุ รับบทเป็น อเล็กซ์ หลุยส์ อาร์มสตรอง
เนตรสยบมาร (Basilisk) รับบทเป็น มิโนะ เน็งกิ งานเกม
James Bond 007: Diamonds Are Forever พากย์เสียงของ เจมส์ บอนด์ (ฌอน คอนเนอรี่)
James Bond 007: Moonraker พากย์เสียงของ ฮิวโก้ แดรกซ์ (ไมเคิล ลอนสเดล)
James Bond 007: Tomorrow Never Dies พากย์เสียงของ แจ็ค เวด (โจ ดอน เบคเกอร์)
The Matrix พากย์เสียงของ มอร์เฟียซ (ลอเรนซ์ ฟิชเบิร์น)
The Lord of The Rings พากย์เสียงของ กิมลี่ (จอห์น รีส เดวี่ส์)
2007年8月17日金曜日
ล้อแม็ก (mag wheel) หรือ ล้ออัลลอย ชื่อเต็มคือ ล้อแม็กนีเซียมอัลลอย (magnesium alloy wheel) ในไทยนิยมเรียกว่า ล้อแม็กซ์ (max wheel) เป็นลักษณะล้อสำหรับรถยนต์ทำจากอัลลอยวัสดุผสมจากแม็กนีเซียม ซึ่งมีลักษณะเด่นแตกต่างจากล้อรถยนต์เหล็กทั่วไปที่มีน้ำหนักที่เบากว่า รวมถึงการนำความร้อนที่ดีกว่าซึ่งทำให้ลดปัญหาการเบรกไม่อยู่ได้ส่วนหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีความสวยงามของตัวล้อที่แตกต่างจากล้อทั่วไป
ล้อแม็กผลิตจากการหลอมในขั้นตอนเดียวของอัลลอยของแม็กนีเซียม ZK60 และ MA-14
ล้ออัลลอยที่ผลิตจากอลูมิเนียม บางครั้งก็ถูกเรียกรวมว่า "ล้อแม็ก" ถึงแม้ว่าไม่ได้มีแม็กนีเซียมเป็นส่วนผสมก็ตาม
2007年8月15日水曜日
2007年8月14日火曜日
บาห์เรน (Bahrain) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain) (อาหรับ: مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะที่ไม่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอื่นในอ่าวเปอร์เซีย (เอเชียตะวันตกเฉียงใต้/ตะวันออกกลาง ทวีปเอเชีย)
เกาะบาห์เรนเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกด้วยสะพานคิงฟาฮัด (เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529) ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรนที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก
ประวัติศาสตร์
(รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
การเมือง
ก่อนหน้า 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ประเทศบาห์เรนแบ่งเขตการปกครองเป็นเทศบาลที่ปกครองจากเมืองหลวง (กรุงมานามา) 12 แห่ง คือ
ในปัจจุบันประเทศบาห์เรนแบ่งเป็น 5 เขตผู้ว่าราชการ (governorates) ได้แก่
กฤษฎีกาจัดตั้งเขตผู้ว่าราชการ
อัลฮิดด์ (Al Hidd)
อัลมะนามะห์ (Al Manamah)
อัลมินตะเกาะห์อัลกะร์บียะห์ (Al Mintaqah al Gharbiyah)
อัลมินตะเกาะห์อัลวุสตะ (Al Mintaqah al Wusta)
อัลมินตะเกาะห์อัลชะมาลียะห์ (Al Mintaqah al Shamaliyah)
อัลมุฮาร์รัก (Al Muharraq)
อาร์ริฟาวาอัลมินตะเกาะห์อัลจะนูบียะห์ (Ar Rifa' wa al Mintaqah al Janubiyah)
จิดด์ฮัฟส์ (Jidd Haffs)
มะดีนัตฮามัด (Madinat Hamad ไม่แสดงบนแผนที่ แบ่งจากเทศบาลอาร์ริฟาฯ เมื่อ พ.ศ. 2534)
มะดีนัตอิซา (Madinat 'Isa)
จุซูร์ฮะวาร์ (Juzur Hawar)
ซิตระห์ (Sitrah)
เขตผู้ว่าราชการเมืองหลวง (Capital)
เขตผู้ว่าราชการกลาง (Central)
เขตผู้ว่าราชการมุฮาร์รัก (Muharraq)
เขตผู้ว่าราชการเหนือ (Northern)
เขตผู้ว่าราชการใต้ (Southern) การแบ่งเขตการปกครอง
บาห์เรนตั้งอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยเกาะต่างๆประมาณ 33 เกาะในอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งห่างจากฝั่งทะเลตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย 24 กิโลเมตรและห่างจากชายฝั่งทะเลตะวันตกของกาตาร์ 27 กิโลเมตร
ภูมิศาสตร์
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ปลา ไข่มุก
เศรษฐกิจ
(รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
2007年8月13日月曜日
นายขรรค์ชัย กัมพลานนท์ เป็นอดีตนายอำเภออำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นลูกชายคนแรกของนายสาย และ นางส้มจีน เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2461 ที่บ้านในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ต้องกำพร้าแม่ตั้งแต่อายุ 3 ขวบ ในวัยเด็กท่านเป็นเด็กเรียบร้อย อยู่ในโอวาทว่านอนสอนง่าย และขยันหมั่นเพียรในการศึกษาเล่าเรียน มีความกตัญญูกตเวที รักพี่น้อง แม้ขณะที่ท่านไปเรียนต่อที่กรุงเทพ ฯ หรือไปรับราชการห่างไกลจากบ้านเกิดเมืองนอน ก็ยังหมั่นกลับบ้านเพื่อเยี่ยมพ่อและญาติพี่น้องอยู่เป็นประจำ ทั้ง ๆ ที่สมัยนั้นการเดินทางยากลำบากมาก
นายขรรค์ชัย มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้
และมีน้องต่างมารดา อีก 5 คน ดังนี้
เด็กหญิง ส่อง (ถึงแก่กรรมในวัยเด็ก)
นางละมุน อัครกุล
นายขรรค์ชัย กัมพลานนท์
พ.ต.อ. ธำรง กัมพลานนท์
นายสุธน กัมพลานนท์
น.อ. สุทิน กัมพลานนท์
ร.ท. ณรงค์ กัมพลานนท์
นายนิพัทธ์ กัมพลานนท์ รับราชการ
ตลอดถึงประชาชนชาวบ้านทั่วไป
เป็นเสมียนกระทรวงมหาดไทย เป็นประจำแผนกพนักงานเทศบาล กองควบคุมเทศบาล กรมมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย
เป็นปลัดอำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพรเป็นนายอำเภอครั้งแรกที่อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นนายอำเภอสะเดา
เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2493 เป็นนายอำเภอสะเดา เป็นที่เคารพรักนับถือของผู้ใต้บังคับบัญชา
2007年8月12日日曜日
2007年8月11日土曜日
ประวัติมหาวิทยาลัยมหิดล
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตั้งคณะคอมมิตี้ เพื่อจัดสร้างโรงพยาบาล โดยใช้ที่ดินส่วนหนึ่งของวังหลัง มาเป็นที่สร้างโรงพยาบาลแห่งแรก ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า "โรงพยาบาลวังหลัง" ในระหว่างการสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ ได้สิ้นพระชนม์ลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ในงานพระเมรุนำไปสร้างโรงพยาบาล และเสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงพยาบาล พร้อมทั้งพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า โรงศิริราชพยาบาล
ยุคโรงศิริราชพยาบาล (พ.ศ. 2429 - พ.ศ. 2431)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น ณ โรงศิริราชพยาบาล โดยมีชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร นอกจากนี้ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้สร้างโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลขึ้น ในบริเวณโรงศิริราชพยาบาล นับเป็นโรงเรียนพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย ในปัจจุบัน คือ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ยุคโรงเรียนแพทยากร (พ.ศ. 2432-พ.ศ. 2440)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกโรงเรียนแพทย์ และพระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า โรงเรียนราชแพทยาลัย ในโอกาสนั้นโปรดเกล้าฯ พระราชทานประกาศนียบัตรให้แพทย์ รุ่นที่ 8 จำนวน 9 คน และพยาบาลรุ่นแรก จำนวน 10
ในปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา โรงเรียนข้าราชการพลเรือนในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้าเป็นคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัย มีชื่อว่า คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล
ในช่วงนี้ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการ รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ขอให้เข้ามาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมี สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ ทรงรับภาระเป็นผู้แทนฝ่ายไทย และได้ขยายหลักสูตรเป็นแพทยศาสตรบัณฑิต ต่อมา มูลนิธิฯ ได้ขยายความช่วยเหลือไปถึงโรงเรียนพยาบาล และคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ด้วย
ยุคมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (พ.ศ. 2486 - พ.ศ. 2512)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์ โดยจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยขึ้นใหม่ เรียกว่า "มหาวิทยาลัยมหิดล" มีขอบเขตดำเนินงานกว้างขวางยิ่งขึ้น ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2512 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยแทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เดิม ในช่วงนี้มีการจัดตั้งคณะต่าง ๆ อีกมากมายเพื่อให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชาทั้งสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนี้
นอกจากนี้ ในปีพ.ศ.2525 ยังได้จัดการศึกษาขยายวิทยาเขตไปยัง วิทยาเขตศาลายา จ.นครปฐม ด้วย
พ.ศ. 2512 จัดตั้ง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
พ.ศ. 2514 จัดตั้ง สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
พ.ศ. 2515 โอน คณะทันตแพทยศาสตร์ ไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2515 โอน คณะเภสัชศาสตร์ ไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2515 จัดตั้ง คณะพยาบาลศาสตร์
พ.ศ. 2520 จัดตั้ง สถาบันวิจัยโภชนาการ
พ.ศ. 2521 จัดตั้ง คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
พ.ศ. 2524 จัดตั้ง สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
พ.ศ. 2524 จัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ.ศ. 2528 จัดตั้ง วิทยาลัยนานาชาติ
พ.ศ. 2532 จัดตั้ง ศูนย์ศาลายา
พ.ศ. 2533 จัดตั้ง คณะวิศวกรรมศาสตร์
พ.ศ. 2536 จัดตั้ง วิทยาลัยราชสุดา
พ.ศ. 2539 จัดตั้ง วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา
พ.ศ. 2540 จัดตั้ง คณะสัตวแพทยศาสตร์
พ.ศ. 2540 จัดตั้ง สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์
พ.ศ. 2542 จัดตั้ง คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์
พ.ศ. 2547 จัดตั้ง คณะศิลปศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตั้งคณะคอมมิตี้ เพื่อจัดสร้างโรงพยาบาล โดยใช้ที่ดินส่วนหนึ่งของวังหลัง มาเป็นที่สร้างโรงพยาบาลแห่งแรก ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า "โรงพยาบาลวังหลัง" ในระหว่างการสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ ได้สิ้นพระชนม์ลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ในงานพระเมรุนำไปสร้างโรงพยาบาล และเสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงพยาบาล พร้อมทั้งพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า โรงศิริราชพยาบาล
ยุคโรงศิริราชพยาบาล (พ.ศ. 2429 - พ.ศ. 2431)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น ณ โรงศิริราชพยาบาล โดยมีชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร นอกจากนี้ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้สร้างโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลขึ้น ในบริเวณโรงศิริราชพยาบาล นับเป็นโรงเรียนพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย ในปัจจุบัน คือ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ยุคโรงเรียนแพทยากร (พ.ศ. 2432-พ.ศ. 2440)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกโรงเรียนแพทย์ และพระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า โรงเรียนราชแพทยาลัย ในโอกาสนั้นโปรดเกล้าฯ พระราชทานประกาศนียบัตรให้แพทย์ รุ่นที่ 8 จำนวน 9 คน และพยาบาลรุ่นแรก จำนวน 10
ในปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา โรงเรียนข้าราชการพลเรือนในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้าเป็นคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัย มีชื่อว่า คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล
ในช่วงนี้ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการ รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ขอให้เข้ามาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมี สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ ทรงรับภาระเป็นผู้แทนฝ่ายไทย และได้ขยายหลักสูตรเป็นแพทยศาสตรบัณฑิต ต่อมา มูลนิธิฯ ได้ขยายความช่วยเหลือไปถึงโรงเรียนพยาบาล และคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ด้วย
ยุคมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (พ.ศ. 2486 - พ.ศ. 2512)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์ โดยจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยขึ้นใหม่ เรียกว่า "มหาวิทยาลัยมหิดล" มีขอบเขตดำเนินงานกว้างขวางยิ่งขึ้น ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2512 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยแทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เดิม ในช่วงนี้มีการจัดตั้งคณะต่าง ๆ อีกมากมายเพื่อให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชาทั้งสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนี้
นอกจากนี้ ในปีพ.ศ.2525 ยังได้จัดการศึกษาขยายวิทยาเขตไปยัง วิทยาเขตศาลายา จ.นครปฐม ด้วย
พ.ศ. 2512 จัดตั้ง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
พ.ศ. 2514 จัดตั้ง สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
พ.ศ. 2515 โอน คณะทันตแพทยศาสตร์ ไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2515 โอน คณะเภสัชศาสตร์ ไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2515 จัดตั้ง คณะพยาบาลศาสตร์
พ.ศ. 2520 จัดตั้ง สถาบันวิจัยโภชนาการ
พ.ศ. 2521 จัดตั้ง คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
พ.ศ. 2524 จัดตั้ง สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
พ.ศ. 2524 จัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ.ศ. 2528 จัดตั้ง วิทยาลัยนานาชาติ
พ.ศ. 2532 จัดตั้ง ศูนย์ศาลายา
พ.ศ. 2533 จัดตั้ง คณะวิศวกรรมศาสตร์
พ.ศ. 2536 จัดตั้ง วิทยาลัยราชสุดา
พ.ศ. 2539 จัดตั้ง วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา
พ.ศ. 2540 จัดตั้ง คณะสัตวแพทยศาสตร์
พ.ศ. 2540 จัดตั้ง สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์
พ.ศ. 2542 จัดตั้ง คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์
พ.ศ. 2547 จัดตั้ง คณะศิลปศาสตร์
2007年8月10日金曜日
เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ หรือ จิ๊ก ดารานักแสดงหญิง ที่มีผลงานการแสดงได้รับความนิยมสูงสุด ช่วง พ.ศ. 2519 - 2525 เข้าสู่วงการภาพยนตร์จากการได้รับตำแหน่งรองมิสออด๊าซ เมื่อ พ.ศ. 2519 ขณะอายุ 16 ปี และแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกเรื่อง แผ่นดินของเรา ได้รับรางวัลตุ๊กตาเงินในปีนั้น
ถึงปัจจุบัน เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ มีผลงานแสดงประมาณ 300 เรื่อง ระยะหลังหันมารับบทตลก ในละครโทรทัศน์
2007年8月9日木曜日
เสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง หรือ เสียงระเบิด ฐานริมฝีปาก อโฆษะ (voiceless bilabial plosive) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ p และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ p เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร ป ผ พ และภ
โดยเมื่อ /p/ เกิดที่ต้นคำหรือต้นพยางค์เน้น เช่นในคำ print, support, potato เวลาออกเสียงจะมีกลุ่มลมตามออกมาด้วยเสมอ แต่หาก /p/ เกิดที่ต้นพยางค์ไม่เน้นและไม่ได้อยู่ต้นคำ เช่นในคำ occupant, vapid, keeper รวมทั้ง /p/ ที่เกิดในพยัญชนะควบกล้ำ โดยตามหลัง /s/ เช่นในคำ spin, sprain, suspend จะออกเสียงแบบไม่พ่นลม ส่วน /p/ ที่เกิดท้ายคำ เช่นในคำ tip, wasp, telescope ก็มักจะเป็นเสียงไม่พ่นลมเช่นกัน
ภาษาไทย - ในภาษาไทยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ เสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง พ่นลม [pʰ] จะสะกดด้วย ผ พ และภ และเสียงกัก ริมฝีปาก ไม่ก้อง ไม่พ่นลม [p] จะสะกดด้วย ป
ภาษาอังกฤษ - มีทั้งสองลักษณะเช่นกัน คือมีทั้งพ่นลม [pʰ] และไม่พ่นลม [p] แต่ทั้งสองเป็นหน่วยเสียงย่อยของหน่วยเสียง /p/ เหมือนกัน
ภาษาญี่ปุ่น - แสดงด้วยตัวอักษรในแถว ぱ ぴ ぷ ぺ และ ぽ
พินอินในภาษาจีน เสียงพ่นลม [pʰ] จะสะกดด้วย p ส่วนเสียงไม่พ่นลม [p] จะสะกดด้วย b
2007年8月8日水曜日
ค่าคงที่ของแก๊ส เป็นค่าที่ใช้ในสมการสถานะของแก๊สอุดมคติ ซึ่งสามารถหาได้จาก
เมื่อ p คือความดันของแก๊สอุดมคติ T คืออุณหภูมิ คือปริมาตรต่อโมลของแก๊ส
ซึ่งค่าของ R จะได้เป็น
R = 8.314472[15] J · K-1 · mol-1
ส่วนค่าคงที่ของโบลซ์แมนน์ kB สามารถหาได้จากอัตราส่วนระหว่างค่าคงที่ของแก๊สกับเลขอะโวกาโดร ซึ่งมีค่าประมาณ 6.022 × 10 อนุภาค ต่อโมล mole
ซึ่งอาจเขียนสมการสถานะของแก๊สอุดมคติได้เป็น
เมื่อ N = nNA ซึ่งเป้นจำนวนโมเลกุลของแก๊สทั้งหมด
2007年8月6日月曜日
โคลงสี่สุภาพเป็นคำประพันธ์ประเภท "ร้อยกรอง" ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปรากฏในวรรณคดีไทยมานานแล้ว วรรณคดีไทยฉบับที่เก่าและมีชื่อเสียงมากฉบับหนึ่งคือ "ลิลิตพระลอ" มีโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งถูกยกมาเป็นบทต้นแบบที่แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ คือนอกจากจะมีบังคับสัมผัสตามที่ต่าง ๆ แล้ว ยังบังคับให้มีวรรณยุกต์เอกโทในบางตำแหน่งด้วย กล่าวคือ มีเอ�! �� 7 แห่ง และโท 4 แห่ง เรียกว่า เอกเจ็ดโทสี่
คณะของโคลงสี่สุภาพ คือ บทหนึ่ง มี 4 บาท (เขียนเป็น 4 บรรทัด) 1 บาทแบ่งออกเป็น 2 วรรค โดยวรรคแรกกำหนดจำนวนคำไว้ 5 คำ ส่วนวรรคหลัง ในบาทที่ 1,2 และ 3 จะมี 2 คำ (แต่บาทที่ 1 และ 3 อาจเพิ่มสร้อยได้อีกแห่งละ 2 คำ) ส่วนบาทที่ 4 วรรคที่ 2 จะมี 4 คำ รวมทั้งบท มี 30 คำ และเมื่อรวมสร้อยทั้งหมดอาจเพิ่มเป็น 34 คำ ส่วนที่บังคับ เอก โท (เอก 7 โท 4) ดังนี้
บาทที่ 1 วรรคแรก คำที่ 4 เอก และคำที่ 5 โท
บาทที่ 2 วรรคแรก คำที่ 2 เอก วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โท
บาทที่ 3 วรรคแรก คำที่ 3 เอก วรรคหลัง คำที่ 2 เอก
บาทที่ 4 วรรคแรก คำที่ 2 เอก คำที่ 5 โท วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โท
สัมผัส ที่บังคับเป็นสัมผัสสระ ดังนี้
บาทแรก คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 สัมผัสกับ คำสุดท้ายของวรรคแรก ในบาทที่ 2 และ 3
บาทที่ 2 คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 สัมผัสกับ คำสุดท้ายของวรรคแรก ในบาทที่ 4
นอกนั้น อาจมีสัมผัสอักษรภายในแต่ละวรรคได้ตามความเหมาะสม ซึ่งจะมีส่วนเพิ่มความไพเราะขึ้นอีก ดังตัวอย่างต่อไปนี้
2007年8月4日土曜日
สำหรับบทความของดาวฤกษ์ ดู ดวงอาทิตย์
พระอาทิตย์ (เทวนาครี: सूर्य, สูรยะ) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง มีอำนาจเหนือกว่าเทวดานพเคราะห์ทั้งหลาย ในคติไทย พระอาทิตย์ถูกสร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีแดง แล้วเสก ได้เป็นพระอาทิตย์ มีสีวรกายแดง ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และแสดงถึงสระทั้งหมดในภาษาบาลี (อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ)
พระอาทิตย์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางก้าวร้าวรุนแรง นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอาทิตย์ หรือมีพระอาทิตย์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีอารมณ์รุนแรง ตัดสินใจไว เฉียบขาด รักอิสระ แต่ซื่อสัตย์ ตามนิทานชาติเวร พระอาทิตย์เป็นมิตรกับพระพฤหัสบดี และเป็นศัตรูกับพระอังคาร
ในโหราศาสตร์ไทย พระอาทิตย์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๑ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากราชสีห์ ๖ ตัวนี้เอง จึงทำให้มีกำลังพระเคราะห์เป็น ๖ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ก็คือ ปางถวายเนตร
2007年8月3日金曜日
2007年8月2日木曜日
รามเซสที่ 2เป็นโอรสองค์โตของฟาโรห์เซติที่ 1 ได้ขึ้นครองราชย์เป็นฟาโรห์ในปี 1297 ก่อน ค.ศ.หลังจากผ่านการสู้รบแย่งชิงราชสมบัติในระหว่างพี่น้อง หลังจากขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ได้ทรงสร้างเมืองใหญ่ขึ้นบนพื้นที่เดิมซึ่งเคยเป็นที่อยู่และที่ถือกำเนิอของพระองค์ คือเมืองปิ-รามเซส ซึ่งการสร้างคราวนี้เกี่ยวข้องถึงเหตุกราณ์สำคัญในพระคัมภีร์โอลด์เทสตาเม�! ��ต์ เพราะทรงใช้พวกฮิบรูมาสร้าง และโมเสสได้เกลี้ยกล่อมให้ฟาโรห์ปล่อยพวกฮิบรูไปจนเกิดเรื่องราวของการแหวกว่ายทะเลแดงมาอย่างน่าตื่นเต้น จากนั้นพระองค์ได้โปรดให้เจาะภูเขาสร้างวิหารอาบูซวิมเบล ซึงใช้พระราชทรัพย์ไปมากจากนั้นก็เปิดฉากรบกับฮิตไทต์ในสมัยกษัตริย์มูวาตาลิสซึ่งพระองค์เกือบจะเสียชีวิตในการรบที่คาเดชแต่ทหารอียิปต์เข้ามาช่วยไว้ทั�! ��และตั้งแต่นั้นทั้ง 2 อาณ� �จักรก็ยุติการรบรากัน ในปี 34 แห่งการครองราชย์ ราชาฮิตไทต์ในขณะนั้นคือ ฮัตตูซิลิสที่ 3 ได้ถวายราชธิดาของพระองค์แก่รามเซสเป็น "มิตรภาพ" รามเซสที่ 3 ทรงดูแลทุกข์สุขของราษฎรเป็นอย่างดีทาโดยตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์และยังเป็นฟาโรห์เพียงพระองค์เดียวที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นมหาราช
2007年8月1日水曜日
วัดคูหาภิมุข หรือ "วัดหน้าถ้ำ" เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 136 หมู่ 1 บ้านหน้าถ้ำ ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
พ.ศ. 2390 ผู้ใหญ่บ้านอาศัยอยู่ที่บ้านหน้าถ้ำ ได้สร้างวัดคูหาภิมุขเพื่อประกอบพิธีบำเพ็ญกุศลในหมู่บ้าน
ภายในวัดคูหาภิมุขมีถ้ำใหญ่ ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่ ภายในถ้ำ ยังมีหินงอกหินย้อย และน้ำใสสะอาดไหลริน จากโขดหิน
วัดคูหาภิมุข เป็นวัดที่สำคัญของเมืองยะลา มีพิพิธภัณฑ์ศรีวิชัย เก็บวัตถุโบราณที่ได้มาจาก วัดถ้ำ ภูเขากำปั่น พระพิมพ์ดินดิบ สถูปเม็ดพระศก อิฐฐานพระพุทธรูป จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เปลี่ยนชื่อ "วัดหน้าถ้ำ" เป็น "วัดคูหาภิมุข"
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระยายะหริ่งมาสร้างเมืองยะลา ตั้งที่ว่าราชการ ณ บ้านท่าสาป ตำบลท่าสาป และสร้างวัดขึ้นที่ริมเขาหน้าถ้ำที่มีพระพุทธไสยาสน์ภายในถ้ำ
พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ได้เสด็จมาประทับแรมที่วันแห่งนี้ มีพระปรมาภิไธย ย่อ ป.ป.ร. ที่ผาหินภายในวัดคูหาภิมุข
สารบัญ
ตำบลหน้าถ้ำเคยเป็นแหล่งชุมชนโบราณมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบร่องรอยศาสนสถาน เมืองโบราณ ซึ่งเป็นศาสนสถานที่พบเทวรูปสำริด กำแพงเมือง พระพิมพ์ดินดิบแบบทวารวดีศรีวิชัย ภาพเขียนสีพระพทธรูปฉาย ภาพเขียนสีราชรถมีสัตว์เทียม มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 15 -17 ยะลาเป็นชุมชนเกษตร นักโบราณคดีได้พบภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์บริเวณถ้ำคูหาภิมุข เป็นภาพพระพ�! �ทธฉายและภาพราชรถแกะสลักไว้บนหน้าผา ภายในบริเวณถ้ำคูหาภิมุข
พระพุทธไสยาสน์
พิพิธภัณฑ์ศรีวิชัย ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดคูหาภิมุข มีวัตถุโบราณที่ขุดค้นได้จากถ้ำต่างๆ ในตำบลหน้าถ้ำ ได้แก่ ภูเขาวัดถ้ำ ภูเขากำปั่น กรมศิลปากรค้นพบพระพิมพ์ดินดิบ สมัยศรีวิชัย สถูป เม็ดพระศก อิฐฐานพระพุทธรูป ขวานหินขัด และบริเวณสนามบินท่าสาป ได้ค้นพบโคกอิฐ เนินดิน ซากกำแพงเมืองโบราณ เครื่องถ้วยชาม เทวรูปพระนารายณ์สำริด สูงประมาณ 1 ศอก (0.5 เมตร)พระ! พุทธรูปแกะสลักในแผ่นหินมีสภาพสมบูตร์ จำนวน 3 องค์ กว้าง 21.50 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมาตร สลักเป็นรูปนูนต่ำ รูปพระพุทธเจ้าประทับนั่ง ปางสมาธิ อีกองค์หนึ่งชำรุดครึ่งหนึ่งมีแร่พระเศียร พระพุทธรูปสมัยศรีวิชัย สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง
พิกัดทางภูมิศาสตร์
มวลสารวัตถุจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุในที่นี้ รัชกาลที่ ๙ ได้นำมาเป็นส่วนประกอบในการทำพระสมเด็จจิตรลดา
登録:
投稿 (Atom)